หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

บทเรียนและสภาพปัญหาเกี่ยวกับเสรีภาพในการชุมนุมเพื่อการปรับปรุงพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558

ระบอบประชาธิปไตย 11 พฤศจิกายน 2563



เรื่อง บทเรียนและสภาพปัญหาเกี่ยวกับเสรีภาพในการชุมนุมเพื่อการปรับปรุงพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558
โดย สมชาย ปรีชาศิลปกุล, นัทมน คงเจริญ, ปารณ บุญช่วย
ISBN 978-616-476-138

            สิทธิในการชุมนุมสาธารณะเป็นสิทธิ ที่มีความสำคัญและถือเป็นสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของบุคคลที่สามารถกระทำ ได้ในระบอบประชาธิปไตย ทั้งนี้ประเทศไทยได้มีการกำหนดและรับรองเสรีภาพในการชุมนุมไว้ครั้งแรกตั้งแต่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2492 ตลอดมาจนถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน โดยสิ่งนี้แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยยอมรับการรับรองสิทธิเสรีภาพของการชุมนุมสาธารณะอย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันบางครั้งการชุมนุมสาธารณะอาจส่งผลกระทบด้านลบต่อสังคมโดยรวมหากการชุมนุมนั้นปราศจากขอบเขต จึงทำให้มีความจำเป็นต้องมีกฎหมายกำหนดขอบเขตของการชุมนุม แต่การกำ หนดขอบเขตนั้นจะต้องไม่กระทบต่อสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะของประชาชนอย่างไรก็ตาม การตีความและการบังคับใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ในปัจจุบันได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าบัญญัติเปิดช่องให้มีการใช้ดุลยพินิจจนอาจนำไปสู่การจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานในการแสดงออกทางความคิดของประชาชน

จัดทำโดย
สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 5 ฝั่งทิศใต้
เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพ 10210

บทเรียนและสภาพปัญหาเกี่ยวกับเสรีภาพในการชุมนุมเพื่อการปรับปรุงพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 (293 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

ร่วมคิด ร่วมปฏิรูป การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เอกสารวิชาการและบทความ

ดาวน์โหลด 69 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สูจิบัตรรางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2563

ดาวน์โหลด 55 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

ความเหลื่อมล้ำในกระบวนการยุติธรรมกับการพัฒนาประชาธิปไตย

ดาวน์โหลด 129 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า