หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

การสร้างดุลยภาพระหว่างอำนาจนิติบัญญัติกับอำนาจบริหาร




โดย บุญเลิศ คชายุทธเดช (ช้างใหญ่)
              การก่อกำเนิดรัฐสภา การยึดอำนาจรัฐเปลี่ยนระบอบการเมืองการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นประชาธิปไตย โดยคณะราษฎรเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ประกาศใช้ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน สยามชั่วคราว วันที่ 27 มิถุนายน 2475 ตั้งสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ใช้อำนาจสูงสุด หรืออำนาจอธิปไตย แทนราษฎรร่วมกับ กษัตริย์ คณะกรรมการราษฎร และศาล (มาตรา2) มีอำนาจหน้าที่ออกพระราช บัญญัติทั้งหลาย ดูแล ควบคุมกิจการของประเทศและมีอำนาจประชุมกันถอดถอนกรรมการราษฎรหรือ พนักงานรัฐบาลผู้ใดผู้หนึ่ง (มาตรา8-9) และที่สำคัญ สภาผู้แทน สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้แต่งตั้งประธานคณะกรรมการราษฎร หรือนายกรัฐมนตรี และให้ความเห็นชอบต่อการแต่งตั้งกรรมการหรือรัฐมนตรี ทำให้รัฐบาลระบบรัฐสภา การดำรงอยู่ การดำเนินงานและการสิ้นสุดของรัฐบาลขึ้นอยู่กับสภาผู้แทนราษฎรเป็นสำคัญ

การสร้างดุลยภาพระหว่างอำนาจนิติบัญญัติกับอำนาจบริหาร (32 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

การปรึกษาหารือสาธารณะ (Public Consultation) แนวคิด ประสบการณ์ และข้อเสนอรูปแบบสำหรับการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ

ดาวน์โหลด 138 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถานภาพองค์ความรู้ด้านการเมืองสิ่งแวดล้อม ภายใต้โครงการวิจัยการเมืองสิ่งแวดล้อมเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ดาวน์โหลด 22 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

คู่มือการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณ โดยใช้ทุนทางสังคมเป็นฐาน

ดาวน์โหลด 67 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า