งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

การรับรู้ต่อการเมืองไทย พ.ศ. 2548-2559 กับ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของพลเมือง Generation Y กรณีศึกษานักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ 5 ภาค




ชื่อเรื่อง การรับรู้ต่อการเมืองไทย พ.ศ. 2548-2559 กับ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของพลเมือง Generation Y กรณีศึกษานักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ 5 ภาค
โดย ศรัณยุ หมั้นทรัพย์
ปีงบประมาณ 2559-2560
สำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง

     การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การรับรู้ต่อการเมืองในระบอบประชาธิปไตยและการเมืองไทย พ.ศ. 2548-2559 2) การรับรู้ต่อความสามารถของตนเอง (self-efficacy) ในการมีส่วนร่วมทางการเมือง และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ต่อการเมือง และความสามารถของตนเองในการมีส่วนร่วมทางการเมือง กับ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของ Generation Y ที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยคือ Generation Y ที่กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยในพื้นที่ 5 ภาค จำนวน 2,050 คน ที่ได้รับการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multiple stage sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม

การรับรู้ต่อการเมืองไทย พ.ศ. 2548-2559 (93 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

การเมืองเอกลักษณ์ในสหภาพพม่า กรณีชนชาติ ไทใหญ่

ดาวน์โหลด 6 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การเมืองอัตลักษณ์ของชุมชนมุสลิมอัต-ตักวา (วัดเกต) เชียงใหม่ภายใต้กระแส “ความหวาดกลัวอิสลาม”

ดาวน์โหลด 59 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การสำรวจข้อมูลประเด็นความขัดแย้งจากการดำเนินโครงการตามแนวนโยบายของรัฐ (Conflict Mapping Phase 3)

ดาวน์โหลด 21 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า