งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

การมีส่วนร่วมต่อการปฏิรูปการเมืองของประเทศไทยในมิติของชุมชนผ่านสภากาแฟ กรณีศึกษา : อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส




เรื่อง การมีส่วนร่วมต่อการปฏิรูปการเมืองของประเทศไทยในมิติของชุมชนผ่านสภากาแฟ กรณีศึกษา : อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
โดย นายคอลัฟ ต่วนบูละ
      นายมานาเซ มะลาเฮง
สนับสนุนโดย สถาบันพระปกเกล้า

      ปัจจุบันพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีร้านน้ำชาเกิดขึ้นมากมาย ไม่ว่าจะเป็นร้านน้ำชาตอนเช้า ร้านน้ำชาตอนเย็น หรือจะเป็นร้านน้ำชาตอนกลางคืน ซึ่งร้านน้ำชาเป็นสถานที่พบปะพูดคุยและนัดหมายของหลากหลายผู้คน และเป็นวิถีชีวิตของผู้คนที่นี่ที่ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของผู้คนในสามจังหวัดชายแดนใต้ที่เป็นสถานที่ใช้พบปะสังสรรค์กันเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กัน ถามสารทุกข์สุขดิบกัน เป็นที่แลกเปลี่ยนข่าวสารซึ่งกันและกัน ประเด็นการพูดคุยในร้านน้ำชามีทุกรสชาติ อาจจะเรียกได้ว่าร้านน้ำชาเป็นเวทีแห่งการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ข้อมูลข่าวสาร อีกหน่วยหนึ่งทางสังคมเลยก็ว่าได้ จนร้านน้ำชาถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “สภากาแฟ” ลักษณะสำคัญของคนที่ชอบมานั่งดื่มน้ำชาคือมักจะเป็นคนที่มีความคิด กล้าพูด กล้าแสดงออก ทำให้ประเด็นที่พูดคุยและแลกเปลี่ยนกัน ตกผนึกกลายเป็นความรู้และข้อมูลที่สามารถเชื่อถือได้

การมีส่วนร่วมต่อการปฏิรูปการเมืองของประเทศไทยในมิติของชุมชนผ่านสภากาแฟ กรณีศึกษา : อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส (73 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

บทบัญญัติทางกฎหมายว่าด้วยสิทธิที่จะถูกลืม (Right to be Forgotten) และแนวทางแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ดาวน์โหลด 68 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การมีส่วนร่วมต่อการปฏิรูปการเมืองของประเทศไทยในมิติของชุมชนผ่านสภากาแฟ กรณีศึกษา : อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

ดาวน์โหลด 73 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาว่าด้วย “สันติวิธี” ของภาคประชาสังคมชายแดนใต้ ระหว่างทศวรรษ 2470 ถึง 2550

ดาวน์โหลด 38 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า