งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

การยกระดับกระบวนการมีส่วนร่วมของพลเมืองผ่านนวัตกรรมประชาธิปไตย

ระบอบประชาธิปไตย 09 กุมภาพันธ์ 2565



เอกเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย การยกระดับกระบวนการมีส่วนร่วมของพลเมืองผ่านนวัตกรรมประชาธิปไตย
บทสังเคราะห์จากงานศึกษาการพัฒนานวัตกรรมประชาธิปไตยร่วมสมัยเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน
โดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยความมั่นคงของมนุษย์และความเท่าเทียม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

           ความเชื่อมั่นในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของคนไทยได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน ที่ขาดความหลากหลายของตัวแทนกลุ่มประชากรและไม่รับผิดชอบทางการเมืองอย่างเพียงพอ เหล่านี้ ทำให้ผู้คนไม่รู้สึกอยากข้องเกี่ยวกับการเมือง และรวมไปถึงความรู้สึกไร้พลังอำนาจที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองใด-ใด เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายฉบับนี้มุ่งเสนอแนวทางการยกระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนผ่านนวัตกรรมประชาธิปไตยร่วมสมัย ผ่านการทบทวนวรรณกรรมและรวบรวมแนวปฏิบัติบางส่วนที่มีอยู่แล้วในสังคมไทย สถาบันทางการเมืองและผู้เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมประชาธิปไตยควรให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมของพลเมืองที่มีความหมาย บ่มเพาะรากฐานวัฒนธรรมประชาธิปไตยให้หยั่งรากลึกในสังคมจำต้องอาศัยความอดทนอดกลั้น ดวงใจอันกว้างขวางที่สามารถรับฟังความเห็นต่าง และสามารถวิพากษ์วิจารณ์ตนเองได้

การยกระดับกระบวนการมีส่วนร่วมของพลเมืองผ่านนวัตกรรมประชาธิปไตย (45 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

การรับรู้ต่อการเมืองไทย พ.ศ. 2548-2559 กับ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของพลเมือง Generation Y กรณีศึกษานักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ 5 ภาค

ดาวน์โหลด 91 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

มุมมองประชาชนต่อนโยบายภาครัฐที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา“ทุ่งยางแดงโมเดล”

ดาวน์โหลด 157 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

กระบวนการกำหนดนโยบายที่ดินในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2475-2500

ดาวน์โหลด 71 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า