งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

ช่องทางการสื่อสารของรัฐสภา

ระบอบประชาธิปไตย 21 พฤศจิกายน 2566



รายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ช่องทางการสื่อสารของรัฐสภา
โดย อัจจิมา แสงรัตน์
นักวิชาการ สำนักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา สถาบันพระปกเกล้า

        การสื่อสารเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดความคิด สร้างความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ทำให้เกิดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน และกระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัว การที่รัฐจะประชาสัมพันธ์นโยบายต่าง ๆ ไปสู่ประชาชนได้นั้นจะต้องอาศัยช่องทางการสื่อสารที่ทันสมัย รวดเร็ว ใช้เวลาน้อย และที่สำคัญต้องเป็นการสื่อสารที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐและการสื่อสารกับประชาชนจะเป็นกลไกที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากประชาธิปไตยแบบติดตาม ตรวจสอบเป็นประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างความโปร่งใสในการใช้อำนาจของรัฐ และส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในทุกระดับ

ช่องทางการสื่อสารของรัฐสภา (16 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาโดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)

ดาวน์โหลด 27 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

บทบาทอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาในระบบสภาคู่กับประสิทธิผลในการเสริมสร้างเสถียรภาพทางการเมืองและการพัฒนาประชาธิปไตยไทย

ดาวน์โหลด 47 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การพัฒนาแพลตฟอร์มสื่อสารข้อมูลการเลือกตั้งท้องถิ่นในประเทศไทย (2563) บนเว็บไซต์ : กรณีศึกษาและการประยุกต์ใช้กับการเลือกตั้งท้องถิ่นของกรุงเทพมหานคร

ดาวน์โหลด 17 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า