หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย : ความเป็นมาและสาระสำคัญ เอกสารวิชาการและบทความ




หัวเรื่อง : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย : ความเป็นมาและสาระสำคัญ

ชื่อหนังสือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย : ความเป็นมาและสาระสำคัญ
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ

           หนังสือ เรื่อง “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย : ความเป็นมาและสาระสำคัญ” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มีเนื้อหาเกี่ยวกับ “รัฐธรรมนูญ” ซึ่งครอบคลุมในหลายประเด็นในมิติทางด้านรัฐศาสตร์ อาทิ ที่มา กำเนิด หลักการ ความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญ และประเภทของรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้สำหรับผู้อ่านบางท่านเมื่อศึกษาประวัติศาสตร์ที่ผ่านของการบังคับใช้รัฐธรรมนูญจะพบว่าในบางช่วงประเทศไทยใช้คำว่า“ธรรมนูญการปกครอง” ในขณะที่บางช่วงเวลาประเทศไทยใช้คำว่า“รัฐธรรมนูญ” ดังนั้น หนังสือเล่านี้จะทำให้ผู้อ่านได้เช้าใจมากขึ้นถึงความเหมือนและความแตกต่างกันของคำทั้งสองคำ สาระสำคัญหลักของหนังสือเล่มนี้อีกประการหนึ่ง คือ การถ่ายทอดถึงความเป็นมาและสาระสำคัญของธรรมนูญการปกครองและรัฐธรรมนูญไทยในช่วงที่ผ่านมา

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย : ความเป็นมาและสาระสำคัญ.-- กรุงเทพฯ :
สถาบันพระปกเกล้า, 2558.158 หน้า.1. ไทย--รัฐธรรมนูญ. I. ชื่อเรื่อง.342.593
ISBN : 978-974-449-837-3

จัดพิมพ์โดย
สถาบันพระปกเกล้า
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 5 (โซนทิศใต้)
เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 02-141-9600 โทรสาร 02-143-8171
http://www.kpi.ac.th

หน้าปก - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ความเป็นมาและสาระสำคัญ (104 ครั้ง) ดาวน์โหลด
เนื้อหา - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ความเป็นมาและสาระสำคัญ (449 ครั้ง) ดาวน์โหลด
ตัวอย่างหน้าปก (108 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

นักการเมืองถิ่น จังหวัดตราด

ดาวน์โหลด 20 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

Guidebook องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ

ดาวน์โหลด 157 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินกับอำนาจการตรวจสอบขององค์กรตุลาการ : กรณีศึกษาต่างประเทศและประเทศไทย

ดาวน์โหลด 24 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า