การพัฒนาเมืองที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพื้นที่สีเขียว พื้นที่การเกษตร พื้นที่ชุ่มน้ำ แม่น้ำ คูคลอง และความหลากหลายทางชีวภาพต้องทำควบคู่กันไปกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการใช้ผังเมือง แผนพัฒนาท้องถิ่น และเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เป็นมาตรการและภารกิจสำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายใต้หลักการของบูรณาการ (Integration) การมีส่วนร่วม (Participation and Partnership) การสร้างองค์ความรู้ ความตระหนักในระดับท้องถิ่น (Local Knowledge and Awareness) และการสร้างเครือข่าย บนฐานธรรมชาติ ในการแก้ปัญหาเชิงนิเวศ (Networking on Nature Based Solutions) เป็นแนวทางที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาให้เมืองน่าอยู่ มั่งคั่ง และยั่งยืนได้
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data จำเนียร วรรัตน์ชัยพันธ์. พื้นที่สีเขียวและความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง : มาตรการการรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.--กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2560.80 หน้า. 1. การพัฒนาเมือง--แง่สิ่งแวดล้อม. 2. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก. I. ชื่อเรื่อง.307.7 ISBN = 978-974-449-982-0