หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย เอกสารวิชาการและบทความ




หัวเรื่อง : สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย

ชื่อหนังสือ สถาบันพระมหากษตัริย์กับสังคมไทย
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ, นางสาวปัทมา สูบกำปัง, ดร.สติธร ธนานิธิโชติ, นางสาวนงลักษณ์ อานี และนางสาวอุมาภรณ์ ศรีสุทธิ์

               ทัศนคติและความเชื่อของคนไทยที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์มีอย่างเหนียวแน่นผูกพันกันอย่างแยกไม่ออกเสมือน “น้ำ” กับ “ปลา” กล่าวคือประชาชนเป็นเสมือน“น้ำ” และพระมหากษัตริย์เป็นเสมือน “ปลา” ซึ่งทั้งน้ำและปลาต้องพึ่งพาอาศัยกัน ความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นเสมือน “พ่อ” และประชาชนเป็นเสมือน “ลูก” ที่เคยผูกพันซึ่งกันและกันมาในอดีตก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงมาจนถึงปัจจุบันอันส่งผลให้คนไทยส่วนใหญ่เชื่อว่าสถาบันพระมหากษัตริย์มีคุณูปการต่อคนไทย รัฐไทย และสังคมไทย, สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดมาทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีความทันสมัยอันส่งผลดีต่อเสถียรภาพทางการเมืองและผลประโยชน์แห่งชาติ, สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการแลกเปลี่ยนพึ่งพาระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์กับประชาชนได้อย่างเหมาะสมลงตัว

พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวน 372 หน้า
ติดต่อสอบถาม ฝ่ายพัสดุ สถาบันพระปกเกล้า
โทรศัพท์ 0-2141-9656-59

จัดพิมพ์โดย
สถาบันพระปกเกล้า
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารบี ชั้น 5 (โซนทิศใต้) เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 02 - 141-9600 โทรสาร 02-143-8174
http://www.kpi.ac.th


Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

การเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตยเปรียบเทียบ : เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย ชิลี อาร์เจนตินา ตูนิเซีย ไนจีเรีย ยูเครน และโปรแลนด์

ดาวน์โหลด 389 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

กระบวนการสันติภาพในรวันดา

ดาวน์โหลด 34 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ สร้างคุณภาพประชาธิปไตย Bridging the Inequality Gap and Nurturing Quality of Democracy

ดาวน์โหลด 62 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า