หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย เอกสารวิชาการและบทความ




หัวเรื่อง : สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย

ชื่อหนังสือ สถาบันพระมหากษตัริย์กับสังคมไทย
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ, นางสาวปัทมา สูบกำปัง, ดร.สติธร ธนานิธิโชติ, นางสาวนงลักษณ์ อานี และนางสาวอุมาภรณ์ ศรีสุทธิ์

               ทัศนคติและความเชื่อของคนไทยที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์มีอย่างเหนียวแน่นผูกพันกันอย่างแยกไม่ออกเสมือน “น้ำ” กับ “ปลา” กล่าวคือประชาชนเป็นเสมือน“น้ำ” และพระมหากษัตริย์เป็นเสมือน “ปลา” ซึ่งทั้งน้ำและปลาต้องพึ่งพาอาศัยกัน ความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นเสมือน “พ่อ” และประชาชนเป็นเสมือน “ลูก” ที่เคยผูกพันซึ่งกันและกันมาในอดีตก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงมาจนถึงปัจจุบันอันส่งผลให้คนไทยส่วนใหญ่เชื่อว่าสถาบันพระมหากษัตริย์มีคุณูปการต่อคนไทย รัฐไทย และสังคมไทย, สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดมาทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีความทันสมัยอันส่งผลดีต่อเสถียรภาพทางการเมืองและผลประโยชน์แห่งชาติ, สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการแลกเปลี่ยนพึ่งพาระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์กับประชาชนได้อย่างเหมาะสมลงตัว

พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวน 372 หน้า
ติดต่อสอบถาม ฝ่ายพัสดุ สถาบันพระปกเกล้า
โทรศัพท์ 0-2141-9656-59

จัดพิมพ์โดย
สถาบันพระปกเกล้า
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารบี ชั้น 5 (โซนทิศใต้) เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 02 - 141-9600 โทรสาร 02-143-8174
http://www.kpi.ac.th


Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

คู่มือการเพิ่มพลังความสามารถกระบวนการจัดการข้อพิพาท

ดาวน์โหลด 20 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

บทบาทคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของบุคคล

ดาวน์โหลด 217 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การจัดการความขัดแย้งและการขอโทษ

ดาวน์โหลด 184 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า