หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Citizen Centric Voting




หัวเรื่อง : รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Citizen Centric Voting

ชื่อเรื่อง รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Citizen Centric Voting
โดย วุฒิสาร ตันไชย ,สติธร ธนานิธิโชติ ,เอกวีร์ มีสุข
             งานวิจัยนี้ทำการศึกษารูปแบบวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและวิธีการในการชดเชยให้ผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งโดยรัฐของกลุ่มประเทศที่มีประชาธิปไตยระดับแนวหน้า เพื่อเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งในแง่ปริมาณ เช่น จำนวนผู้ออกมาใช้สิทธิ และเชิงคุณภาพ เช่น ระดับการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศโดยภาพรวม และบริบทที่เหมาะสมสำหรับการนำรูปแบบวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและมาตรการ ในการชดเชยให้ผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งโดยรัฐแต่ละแนวทางไปใช้ ตลอดจนการทบทวนบทเรียนเกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการ และมาตรการที่ประเทศไทยเคยใช้ เพื่อพิจารณาทางเลือกที่เป็นไปได้สำหรับการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง รวมถึงวิธีการที่เหมาะสมในการชดเชยให้ผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง
ของประเทศไทย

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Citizen-Centric
Voting. หนังสือ. -- กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2559. 286 หน้า.
324.65
ราคา 185 บาท
ISBN 978-974-449-899-1

จัดพิมพ์โดย
สำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 5 (โซนทิศใต้)
เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง
เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 http://www.kpi.ac.th
โทรศัพท์ 0-2141-9600 โทรสาร 0-2143-8181

หนังสือจำหน่าย
ติดต่อสอบถาม ศูนย์หนังสือสถาบันพระปกเกล้า
โทรศัพท์ 0-2143-9231

ตัวอย่างหน้าปก รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Citizen Centric Voting (44 ครั้ง) ดาวน์โหลด
บทสรุปผู้บริหาร (42 ครั้ง) ดาวน์โหลด
บทสรุปผู้บริหาร (EN) (21 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดขอนแก่น

ดาวน์โหลด 41 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การให้รัฐเข้าถึงและได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกัน: กรณีสหพันธรัฐรัฐเยอรมนี

ดาวน์โหลด 50 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

คู่มือ การจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณ โดยใช้ทุนทางสังคมเป็นฐาน

ดาวน์โหลด 98 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า