หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

บทบาทของประชาสังคมที่มีต่อการเมืองในด้านการเลือกตั้งในประเทศไทย




บทความรื่อง บทบาทของประชาสังคมที่มีต่อการเมืองในด้านการเลือกตั้งในประเทศไทย
โดย ศาสตราจารย์โรเบิร์ต บีอัลบริททัน และดร. ถวิลวดีบุรีกุล

              แนวคิดเกี่ยวกับประชาสังคม (Civil Society) ที่ได้นำมาใช้เป็นกฏเกณฑ์ทางรัฐศาสตร์นั้นมีความคลุมเครือเป็นอย่างมาก โดยความคลุมเครือดังกล่าวนี้ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการเริ่มต้นที่มาจากความเคลื่อนไหวในการปฏิวัติเพื่อต่อต้านระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย แนวคิดนี้ได้กลายเป็นปัญหามากขึ้น ในบริบทของการสร้างความแข็งแกร่งให้กับระบอบประชาธิปไตย ถึงแม้ว่า Linz และ Stepan (2001) ได้เสนอว่า จะต้องมีเงื่อนไขสำหรับ “ประชาสังคม ที่เป็นอิสระและความคงอยู่” เพื่อที่จะสร้างความแข็งแกร่งให้กับระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอของ Bernan (1997) นั้นขัดแย้งกับคำยืนยันของ Schnitter (1997) ที่ว่า ประชาสังคมนั้นมีส่วนช่วยในการสร้างความแข็งแกร่งให้กับระบอบประชาธิปไตย โดย Bernan แย้งว่า ในระบอบการปกครองที่เป็นประชาธิปไตยอยู่แล้ว ประชาสังคมอาจเป็น พื้นฐานในการที่จะจัดตั้งระบอบการปกครองแบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ เช่นยุคของนาซีในเยอรมนี ในสมัยสาธารณรัฐไวมาร์ (Weinar Republic) ก็ได้

บทบาทของประชาสังคมที่มีต่อการเมืองในด้านการเลือกตั้งในประเทศไทย (132 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

ความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกวุฒิสภา 2551 จังหวัดชลบุรี

ดาวน์โหลด 263 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การประชุมวิชาการ สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 12

ดาวน์โหลด 151 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

ความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบและความเป็นไปได้

ดาวน์โหลด 63 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า