งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการกระจายรายได้ของกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางและความเกี่ยวข้องของดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาล : การสร้างแนวทางลดความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยตามหลักสากล

ธรรมาภิบาล 01 เมษายน 2563



รายงานวิจัยชุมชนเรื่อง ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการกระจายรายได้ของกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางและความเกี่ยวข้องของดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาล : การสร้างแนวทางลดความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยตามหลักสากล
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน, อาจารย์ ดร.โกสินทร์ เตชะนิยม ,อาจารย์ ดร.วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์,อาจารย์ วรพล พินิจ

            งานวิจัยเรื่อง ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการกระจายรายได้ของกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางและความเกี่ยวข้องของดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาล : การสร้างแนวทางลดความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยตามหลักสากลมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำของรายได้ของประชาชนในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางของโลก ที่ใช้ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้สองรูปแบบด้วยกัน คือ 1) Gini Coefficient หรือดัชนีสัมประสิทธิ์ความเหลื่อมล้า และ 2) Income share held by lowest 10% หรือสัดส่วนการกระจายรายได้ไปยังกลุ่มผู้มีรายได้ต่้าที่สุดร้อยละ 10

การสร้างแนวทางลดความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยตามหลักสากล (179 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

กระบวนการเป็นผู้นาแบบทางการและการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขา กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขาอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

ดาวน์โหลด 113 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับพรรคการเมือง

ดาวน์โหลด 84 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

กระบวนการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

ดาวน์โหลด 38 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า