งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

การศึกษาแนวทางที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญา




ชื่อเรื่อง การศึกษาแนวทางที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
คณะผู้วิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.ปกป้อง ศรีสนิท,รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์,อาจารย์วิชาญ กิตติรัตนพันธ์,นางสาวรุ่งกมล  โพธิสมบัติ, นางสาวสุชาดา โพธิสิงห์,นางสาวรัตนาภรณ์ ศรแก้วดารา,นางสาวขวัญมนัส พัดทอง,นายพิภพ ปรีดาภิรัตน์,นายกฤตวัฒน์ โกมลวรวิทยา
เสนอ สถาบันพระปกเกล้า

          ปัญหาของกระบวนการยุติธรรมไทยที่ปรากฏอย่างเด่นชัด และในทางวิชาการมีการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางและควรมีการปฏิรูปอย่างเป็นรูปธรรม อันได้แก่ ความล่าช้าในกระบวนการยุติธรรม ความไม่โปร่งใส การขาดระบบตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐของเจ้าหน้าที่และบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม การผูกขาดอำนาจรัฐ ละเมิดสิทธิของผู้ต้องหาและผู้ต้องขังในกระบวนการยุติธรรม เป็นต้น ฉะนั้นการปฏิรูปประเทศไทยให้มีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สังคมปกติและมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ รัฐจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาในมิติของกระบวนการยุติธรรม พร้อมกับสร้างสังคมที่เป็นธรรมให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องรวบรวมความเห็นเหล่านี้ เพื่อนำไปสู่การการค้นหาแนวทางที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม อันจะนำไปสู่การสร้างสังคมและประเทศให้มีความน่าอยู่ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีหลักธรรมาภิบาล รวมทั้งได้รับความเป็นธรรมอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง

 

บทสรุปผู้บริหาร : การศึกษาแนวทางที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (58 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

มุมมองประชาชนต่อนโยบายภาครัฐที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา“ทุ่งยางแดงโมเดล”

ดาวน์โหลด 155 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การสำรวจค่านิยมประชาธิปไตยและค่านิยมของเยาวชน

ดาวน์โหลด 72 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

บทบัญญัติทางกฎหมายและประเด็นพิจารณาในร่างพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีจราจร พ.ศ. ...." ภายใต้โครงการศึกษาวิเคราะห์ร่างกฎหมายและกฎหมายที่มีผลใช้บังคับอยู่

ดาวน์โหลด 8 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า