งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

หมู่บ้านเสื้อแดง : การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอำนาจฯ จ.อุดรธานี (ทุนสนับสนุนจากสถาบัน)




ชื่อวิทยานิพนธ์ หมู่บ้านเสื้อแดง: การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชุมชนชนบทไทย กรณีศึกษาหมู่บ้านนาใหญ่ จังหวัดอุดรธานี (Red-shirt Village : The Transformation of Powers in Rural Thai Community A Case Study of Nayai Village, Udonthani)
ชื่อผู้รับทุน นางสาววิภาวดี พันธุ์ยางน้อย วิทยานิพนธ์สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2555
               ผู้คนและหมู่บ้านในชนบทมีพลวัตและมีความร่วมสมัยตลอดมา ดังจะเห็นได้จากแนวทางการศึกษาหมู่บ้านชนบทไทยที่ได้รับการพัฒนาและปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย อาทิ การศึกษาภายใต้ วาทกรรมหลักของรัฐในช่วงทศวรรษที1 2550 การศึกษาตามแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน แนวคิด สิทธิชุมชน และแนวคิดสองนคราประชาธิปไตย ในทศวรรษ 2520 2540 และการปรากฏตัวของ คนชนบทในขบวนการเสื้อแดงในทศวรรษ 2550 ได้กลายเป็นจุดหักเหสำคัญของแนวทางศึกษาหมู่บ้านชนบทไทยซึ่งมีคุณูปการสำคัญต่อการถมช่องว่างในการทำความเข้าใจความปรารถนา ทางเศรษฐกิจการเมืองของคนชนบทสมัยใหม่ตามแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน

การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชุมชนชนบทไทย กรณีศึกษาหมู่บ้านนาใหญ่ จังหวัดอุดรธานี (30 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

ความเป็นพลเมืองกับการบริหารจัดการตนเองของชุมชนไทย

ดาวน์โหลด 0 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การพัฒนาข้อเสนอและรูปธรรมของการปฏิรูปประเทศไทยของกลุ่มการเมืองในจังหวัดพะเยา

ดาวน์โหลด 13 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

บทบาทของผู้นำชุมชนในการมีส่วนร่วมสร้างความมั่นคงตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา กรณีศึกษา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

ดาวน์โหลด 111 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า