หนังสือและบทความ

หน้าแรก | คลังความรู้

สันติวัฒนธรรมในสถาบันการเมือง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปรองดองของประเทศ กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และบางส่วนของ จ.สงขลา)




เรื่อง สันติวัฒนธรรมในสถาบันการเมือง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปรองดองของประเทศ กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และบางส่วนของ จ.สงขลา)           
        การค้นหา "สันติวัฒนธรรม" ที่เป็นทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ป้องกันความรุนแรงและเสริมสร้างความสมานฉันท์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น ก่อนอื่นต้องพิจารณาภาพรวมความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่ก่อน ซึ่งความขัดแย้งมี 2 มิติ คือ
  1.ความขัดแย้งทางการเมืองและอุดมการณ์ว่าจะอยู่หรือไม่อยู่กับรัฐไทย ความขัดแย้งนี้ทำให้เกิดขบวนการต่อสู้กับรัฐไทย และเป็นต้นกำเนิดของสถานการณ์ความรุนแรงมาเป็นระยะเวลายาวนาน วงรอบของความขัดแย้งเที่ยวล่าสุดเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา
   2.ความขัดแย้งทางการเมืองพื้นฐานว่า ด้วยความคิดเห็นแตกต่างในทางการเมือง ทั้งสีเสื้อ และความขัดแย้งของการเมืองระดับท้องถิ่น ซึ่งสะท้อนออกมาเป็นความรุนแรงเช่นเดียวกัน

สันติวัฒนธรรมในสถาบันการเมือง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปรองดองของประเทศ กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (50 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

คนการเมือง เล่ม 4

ดาวน์โหลด 30 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สันติวัฒนธรรมในสถาบันการเมือง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปรองดองของประเทศ กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และบางส่วนของ จ.สงขลา)

ดาวน์โหลด 50 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การศึกษาพฤติกรรมความเป็นพลเมืองสำหรับสังคมไทย

ดาวน์โหลด 94 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า